Page Header

การค้ำประกันตามสัญญาจ้างแรงงานที่ผู้ประกอบการควรรู้
Employers’ Need-to-Know Principles of a Guaranty and Suretyship Agreement

Wannarat Karoonyavanich, Pramoch Thammakorn

Abstract


เมื่อมีการทำสัญญาค้ำประกันตามสัญญาจ้างแรงงานแล้วนายจ้างสามารถเรียกหลักประกันได้เฉพาะตำแหน่งงานที่กฎหมายบัญญัติไว้ในประกาศกระทรวงแรงงานเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจ้าง พ.ศ. 2551 ในการเรียกหลักประกันจะเรียกได้ไม่เกิน 60 เท่าของอัตราจ้างรายวันโดยเฉลี่ยที่ลูกจ้างได้รับ หากมีการเรียกเกินกว่าที่กฎหมายกำหนดสัญญาค้ำประกันจะมีผลเป็นโมฆะการทำสัญญาค้ำประกันจะเป็นกรณีที่บุคคลภายนอกตกลงกับเจ้าหนี้ว่าจะชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้เมื่อลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ กฎหมายได้กำหนดหน้าที่ให้เจ้าหนี้ มีหน้าที่ส่งหนังสือบอกกล่าวให้ผู้ค้ำประกันทราบว่าลูกหนี้ผิดนัดชำระหนี้ ความสัมพันธ์ตามสัญญาจ้างแรงงานต้องปฏิบัติตามกฎหมายโดยเคร่งครัดหากนายจ้างไม่ทำตามที่กฎหมายกำหนดสัญญาอาจเป็นโมฆะและนายจ้างอาจต้องรับผิดในทางอาญาซึ่งมีทั้งโทษจำคุกและปรับ

With regard to a suretyship agreement in employment contractual obligations, an Employer is entitled to demand or receive from an Employee a security deposit for damage to work or possible dishonesty done by an Employee. In accordance with the Labor Protection Act B.E. 2551, an Employer is entitled to demand a security deposit from the Employee to compensate for damage or losses only for the positions prescribed in the Ministerial Regulations. Values of the security shall be in accordance with the rules, which do not exceed 60 times of average daily wages payable to the employee. The contract shall be deemed void if surety's demand does not abide by the contract. Regarding a Guaranty and Suretyship Agreement, a third party or “guarantor” agrees to undertake suretyship liability towards the Employer (creditor), including satisfy repayment obligations based on the contract provisions. The guarantor must be given the Employer’s advance notice in case the Employee (debtor) fails to meet a required payment. The contractual relationship and obligations between parties must be in full compliance with laws. In the event of the Employer’s breach of employment contract, the agreement could be considered void. Any Employer who fails to comply with laws could face criminal penalties for the offense, including both imprisonment and fine.


Keywords



[1] ประกาศกระทรวงแรงงานเรื่องหลักเกณฑ์และวิธีการเรียกหรือรับหลักประกันการทำงานหรือหลักประกันความเสียหายในการทำงานจากลูกจ้างพ.ศ 2551. (2551, 4 กรกฎาคม).ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนพิเศษ112 ง4. หน้า 10

[2] วิจิตรา วิเชียรชม. (2564). คำอธิบายกฎหมายแรงงาน (พิมพ์ครั้งที่ 8). วิญญูชน.

[3] smartdeka. (2562). คำพิพากษาศาลฎีกาที่ ๒๗๘๒/๒๕๖๐. Smartdeka. https://www.smartdeka.com/

[4] อานนท์ ศรีบุญโรจน์. (2565) กฎหมายประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ค้ำประกันจำนองจำนำ (พิมพ์ครั้งที่ 8). วิญญูชน.

[5] สำนักงานศาลยุติธรรม. (2563) คำพิพากษาศาลฎีกาพุทธศักราช 2562 เล่มที่ 12 (พิมพ์ครั้งที่ 1). สำนักงานศาลยุติธรรม.

[6] สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2468, 11 พฤศจิกายน) ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์. krisdika https://www.krisdika.go.th/librarian/get?sysid=567410&ext=htm.

[7] สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2515, 16 มีนาคม) พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงานพ.ศ 2541. Senate. https://www.senate.go.th/assets/portals/28/fileups/146/files/พรบ.คุ้มครองแรงงาน%20พ.ศ.2541_1.pdf.

Full Text: PDF

DOI: 10.14416/j.bid.2022.11.008

Refbacks

  • There are currently no refbacks.