Page Header

The Development of Online Collaborative Learning using Problem-based Learning and Three Stay One Stray Technique to Improve Group Working Skills

Korawee Siripokhapirom, Charun Sanrach

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาตามรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบออนไลน์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Three Stay One Stray เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกัน เรียกว่า รูปแบบ  PBTSOS  2) หาประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้แบบร่วมมือแบบออนไลน์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Three Stay One Stray เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกัน 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียน และ 4) หาทักษะการทำงานร่วมกันของผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาตามรูปแบบการเรียนรู้แบบออนไลน์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิค Three Stay One Stray  เพื่อส่งเสริมทักษะการทำงานร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักศึกษาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ชั้นปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา สถิติสำหรับเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาคเรียนที่ 1/2560  จำนวน 32 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง 1 ห้องเรียน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิคและวิธีการ อยู่ในระดับมาก (X ̅= 4.23)  2) ประสิทธิภาพของรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นมีค่า 84.02/80.10  มีค่าสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ 3) การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน พบว่า ผู้เรียนที่เรียนด้วยบทเรียนคอมพิวเตอร์ที่พัฒนาขึ้นมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 4) ผลการวิเคราะห์ทักษะการทำงานร่วมกันของกลุ่มผู้เรียน พบว่า คะแนนเฉลี่ยโดยรวมของทักษะการทำงานร่วมกันของกลุ่มผู้เรียน อยู่ในระดับมาก (X= 2.82)


Keywords


การใช้ปัญหาเป็นฐาน; เทคนิคแยก 1 อยู่กับที่ 3; ทักษะการทํางานร่วมกัน

[1] J. F. Chizmar and M. S. Walbert, "Web-Base Learning Environment Guided by Principle of Good Teaching Practice," Journal of Economic Education, vol. 30, no. 3, pp. 248-259, 1999.

[2] P. Sae-Joo, "The Development of Collaborative Learning Management via Social Network : Facebook," Technical Education Journal King Mongkut's University of Technology North Bangkok, vol. 8, no. 1, pp. 141-151, 2017. (in Thai)

[3] P. Tongdeeleart, A Proposed Collaborative Learning model on computer network-baesd learning for undergraduate students with different learning styles, Bangkok: Chulalongkorn University, 2004. (in Thai)

[4] S. Kagan, Cooperative learning, CA: Kagan Cooperative Learning, 1994.

[5] B. J. Millis and P. G. Cottell, Cooperative learning for higher education faculty, Arizona: The Oryx Press, 1998.

[6] M. Tiantong, Innovation : computer-based learning and teaching, Bangkok: King Mongkut's University of Technology North Bangkok, 2013. (in Thai)

[7] P. Ngamprapasom, "To Increase the Potential and Learning Achievement by Using Group Learning Process," Lampang Rajabhat University Journal, vol. 1, no. 1, pp. 58-66, 2012. (in Thai)

[8] S. Laisema, Ubiquitous Learning Environment-based Virtual Collaborative Learning System for Creative Problem Solving to Enhance Creative Thinking and Collaboration Skills, Bangkok: King Mongkut's University of Technology North Bangkok, 2014. (in Thai)

[9] R. Pradubwate, The Development of Online Instructional Model for Enchancing Team Performance Ability of Higher Education Level Students, Bangkok: Srinakharinwirot Unversity, 2008. (in Thai)

[10] F. Dewi, Three Stay One Stray Structure as a Method For Teaching Speaking at Senior High School, Universitas Negeri Semarang, 2011.

[11] S. Balkcom, Cooperative Learning, Washington: Office of Educational Research and Improvement, 1992.

[12] N. Paiboonsin and S. Sopeerak, "Web-based Instruction Development by Integrated Collaborative Learning and Problem based Learning for Undergraduate Students," Technical Education Journal King Mongkut's University of Technology North Bangkok, vol. 7, no. 2, pp. 91-101, 2016. (in Thai)

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


ISSN: -