ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

ปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดเห็นของเกษตรกรตอ่การปลูกน้อยหน่าในอ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา Factors Affecting Opinion of Farmers towards Custard Apple Cultivation in Pak Chong District, Nakhon Ratchasima Province

จิราภรณ์ เดชะ, ธานินทร์ คงศิลา, สาวิตรี รังสิภัทร์

Abstract


งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้าน สังคม การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับน้อยหน่าและปัจจัยด้านการตลาดของเกษตรกรผู้ปลูกน้อยหน่า 2) เพื่อศึกษา ความคิดเห็นของเกษตรกรต่อการปลูกน้อยหน่า 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ ปัจจัยด้านสังคม การเปิดรับข่าวสารเกี่ยวกับน้อยหน่าและปัจจัยด้านการตลาดกับความ คิดเห็นของเกษตรกรต่อการปลูกน้อยหน่า 4) เพื่อศึกษาปัญหาและข้อเสนอแนะ กลุ่มตัวอย่างคือ เกษตรกรผู้ ปลูกน้อยหน่าพันธุ์เพชรปากช่องในอ าเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา จ านวน 324 คน การเก็บรวบรวม ข้อมูลใช้แบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ค่าต่ าสุด ค่าสูงสุด และการทดสอบไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า 1)  เกษตรกรส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุเฉลี่ย 49.90 ปี จบการศึกษาระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นและมีสถานภาพสมรส พื้นที่ปลูกน้อยหน่าเฉลี่ย 17.96 ไร่ ต้นทุนการผลิตน้อยหน่า ได้แก่ ค่าติดตั้งระบบน้ าสปริงเกอร์เฉลี่ย 7,075.62 บาทต่อไร่  รายได้จากการจ าหน่ายผลผลิตเฉลี่ย 51,216.05 บาท ต่อไร่ต่อปี  เกษตรกรได้รับข่าวสารจากเพื่อนเกษตรกร และFacebook สถานที่จ าหน่ายส่วนใหญ่คือตลาดไท 2) เกษตรกรเห็นด้วยมากในการปลูกน้อยหน่าด้านพันธุ์ วิธีการปลูก การดูแลรักษาโรคและศัตรูน้อยหน่า และ การเก็บเกี่ยวผลผลิต  3) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า  ต้นทุนการผลิตและราคาจ าหน่ายมีความสัมพันธ์ กับความคิดเห็นของเกษตรกร ที่ระดับนัยส าคัญทางสถิติ .05

Keywords


ความคิดเห็น การปลกูน้อยหน่า เกษตรกร จังหวัดนครราชสีมา

ส านักงานเกษตรอ าเภอปากชอ่ง ภายใต้ศูนย์      เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริม     การเกษตร. (2559). จ านวนเกษตรกรผู้ปลูก     น้อยหน่า. (10 เมษายน 2560) สืบค้นจาก      แหล่งข้อมูล: http://www.agriinfo.doae.go.th.  [2] ระบบสารสนเทศการผลติทางด้านเกษตร กรมส่งเสริม      การเกษตร. (2559). พื้นที่ปลกูน้อยหน่า.       (10 เมษายน 2560) สืบค้นจาก แหล่งข้อมูล:       http://production.doae.go.th.    [3] Southamton  Center for Underutilised Crops.      (2006).  คุณค่าทางโภชนาการ (10 เมษายน 2560)      สืบค้นจากแหล่งข้อมลู: http://www.mcc.cmu.ac.th. [4] ธานินทร์ คงศิลา. 2560. “การมีส่วนร่วมของเกษตรกร     ในการใช้น้ าชลประทานโครงการพัฒนาลุ่มน้ ากา่  อัน     เนื่องมาจากประราชด าริ”. วารสารการอาชีวะและ     เทคนิคศึกษา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 14 กรกฎาคม - ธันวาคม      2560. 

[5] รัชดา ปรัชเจรญิวนิชย์ และคณะ. 2556. การวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตน้อยหน่าคุณภาพใน จังหวัดนครราชสีมา. วาสารแก่นเกษตร 42 ฉบับ พิเศษ

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI