ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

ระบบจัดการพลังงานนิเวศพอเพียงด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งส าหรับสถานศึกษา Sufficient Ecosystem Management via IoT for Educational Institutions

ชนัญชิดา จันทร์ผึ้งสุข, กฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย

Abstract


การจัดการพลังงานนิเวศพอเพียงด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งส าหรับสถานศึกษา เป็นการปฏิบัติงาน ตามหลักการที่เกิดจากความร่วมมือของบุคลากรทุกคน โดยเริ่มจากผู้บริหารระดับสูงลงไปยังระดับปฏิบัติการ ในบทความนี้จะแสดงสถาปัตยกรรมระบบจัดการพลังงานนิเวศพอเพียงด้วยอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งส าหรับ สถานศึกษา ประกอบไปด้วยหลักการท างาน ประกอบด้วย นโยบายพลังงาน โครงสร้างหน้าที่ความรับผิดชอบ วางแผนการอนุรักษ์พลังงาน ปฏิบัติการและการควบคุม ตรวจสอบแก้ไข และทบทวนโดยฝ่ายบริหาร และได้ น าอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งเข้ามาช่วยจัดการพลังงาน ประกอบด้วย อุปกรณ์ตรวจจับ การเชื่อมต่อเครือข่าย ระบบประมวลผล ระบบบริหารจัดการ และอุปกรณ์อื่น เพื่อก่อให้เกิดระบบนิเวศพอเพียงที่มีทั้งสิ่งมีชีวิตและไม่ มีชีวิต ประกอบด้วย มนุษย์ อาคาร สิ่งแวดล้อม พลังงาน และความพอเพียง ที่สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุล

Keywords


ระบบจัดการพลังงาน, นิเวศพอเพียง, อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง, สถาบันการศึกษา

[1] เกียรติอนันต์ ล้วนแก้ว. (2559). เมื่อ Thailand 4.0 ถูกขับเคลื่อนด้วย Education 2.0. สานปัญญา จังหวัดปฏิรูปการเรียนรู้. 2(26), 1-4. [2] กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2554). กรอบนโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารระยะ พ.ศ. 2554-2563 ของประเทศ ไทย ICT2020. กรุงเทพฯ: ศูนย์ราชการเฉลิมพระ เกียรติ. [3] วันเพ็ญ ผลิศร. (2559). การบริหารวิทยาเขต อัจฉริยะ ด้วยอินเตอร์เน็ตส าหรับสรรพสิ่ง. วารสาร อาชีวะและเทคนิคศึกษา. 6(11), 39-51.
[4] ทีมกรุ๊ปคอนเซาท์ติ้ง. (2560). ภาพรวมการจัด การพลังงานและการใช้พลังงานอย่างมี ประสิทธิภาพ. สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2560, จาก bit.ly/2HObXod [5] กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส านักงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ. (2548). การจัดระบบการจัดการพลังงาน. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/2vq19d3 [6] กรมประชาสัมพันธ์. (2558). การบริหารจัดการด้าน พลังงาน. สืบค้นเมื่อ 3 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/2H5gcOZ [7] ศันสนีย์ กีรติวิริยาภรณ์. (2556). การจัดท า แผนปฏิบัติการสถานศึกษาดีเด่นด้านพลังงาน. สืบค้นเมื่อ 18 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/2HbhsMc [8] เทค ทอล์ค ไทย. (2559). บทวิเคราะห์ องค์กรไทย ควรมอง Internet of Things ในการลงทุนเพื่อการ เติบโตของธุรกิจอย่างไรบ้าง. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/1TOejEf [9] อีเอฟ โซไซตี้. (2554). การจัดการพลังงาน. สืบค้น เมื่อ 24 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/2EXQeH5 [10] กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ส านักงาน คณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ. (2548). การประหยัดพลังงานในสถานที่ท างาน. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2560, จาก bit.ly/2vrotXW [11] Recycling Guide (n.d.). Reduce, Reuse, Recycle. Retrieved July 28, 2017, from www. recycling-guide.org.uk/rrr.html [12] The Government of Western Australia. (2010). Reduce Reuse Recycle. Retrieved July 28, 2017, from bit.ly/2HaL0xG [13] ศิริลักษณ์ ช่วยพนัง. (2560). สิ่งแวดล้อมกับการ ด าเนินชีวิต. สืบค้นเมื่อ 20 กันยายน 2560, จาก bit.ly/2J2n8bW [14] ส านักส่งเสริมและฝึกอบรม มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. (ม.ป.ป.). เศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้น เมื่อ 1 มิถุนายน 2560, จาก bit.ly/1NksrkW [15] เสกสรร ศิวิลัย. (2016). Internet of Things เมื่อ สรรพสิ่งล้วนเชื่อมต่อ (อินเทอร์เน็ต). สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2560, จาก bit.ly/2H9b4JB [16] มหศักดิ์ เกตุฉ่ า. (2559). Internet of Things (IoT). สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2560, จาก bit.ly/2qIaeZo[17] Rajkumar, B., and Dastjerdi, V. (2016). Internet of Things: principles and paradigms. Amsterdam: Morgan Kaufmann.  [18] Robert, L. (2016). The Implications of the Internet of Things for Education. Retrieved August 13, 2017, from bit.ly/2EXjxcQ [19] วิวัฒน์ มีสุวรรณ์. (2560). Internet of Things กับ การบริหารจัดการชั้นเรียน. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2560, จาก bit.ly/2qG4bEF [20] Andrew, M. and et al. (2015). Three questions about the Internet of Things and children. TechTrends. 59(1), 76-77. [21] Bradicich, T. (2015) The 7 Principles of the Internet of Things (IoT). Retrieved August 15, 2017, from bit.ly/2H8gBMi [22] อาร์เอสคอมโพเนนท์ (ม.ป.ป.). อินเทอร์เน็ตในทุก สิ่ง (Internet of Things). สืบค้นเมื่อ 19 สิงหาคม 2560, จาก bit.ly/2qHUFkc 

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI