ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

ระบบบริหารจัดการเรยีนรู้ร่วมกันบนเอ็มเลริน์นิงเพื่อส่งเสรมิทักษะการท างานร่วมกัน Collaborative Mobile Learning Management System to Enhance Collaboration Skills

สิทธิชัย ลายเสมา

Abstract


งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนรู้ร่วมกันบนเอ็มเลิร์นนิงเพื่อส่งเสริมทักษะการ ท างานร่วมกัน  และ 2) เพื่อประเมินคุณภาพระบบบริหารจัดการเรียนรู้ร่วมกันบนเอ็มเลิร์นนิง โดยมีขั้นตอนการวิจัยเพื่อ พัฒนาระบบตามกระบวนการของวงจรการพัฒนาระบบ 5 ขั้นตอน คือ 1) การวิเคราะห์ความต้องการ  2) การวิเคราะห์และ ออกแบบระบบ  3) การพัฒนาระบบ  4) การทดสอบระบบ  และ 5) การน าไปใช้  ผลการวิจัยพบว่า  1) ระบบบริหารจัดการ เรียนรู้ร่วมกันบนเอ็มเลิร์นนิง ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ ส่วนของผู้สอน ผู้เรียน และผู้บริหารจัดการระบบ  การท างานของ ระบบประกอบด้วยโมดูลการท างานย่อย  6 โมดูล ได้แก่ โมดูลการจัดการผู้เรียน โมดูลการเรียนรู้ร่วมกัน  โมดูลข้อมูลการ เรียนรู้ออนไลน์ โมดูลการติดต่อสื่อสาร  โมดูลเครื่องมือการท างานร่วมกัน และโมดูลการประเมินผล  2) ผู้เชี่ยวชาญประเมิน คุณภาพของระบบด้านเนื้อหา ด้านการออกแบบการเรียนการสอน และด้านเทคนิค มีความเห็นว่าระบบมีคุณภาพอยู่ในระดับ มากที่สุด

Keywords


ระบบบริหารจดัการเรียนรู้  การเรียนรู้ร่วมกัน  เอ็มเลิรน์นิง

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2543). มิติที่ 3 ทางการศึกษา : สานฝันสู่ความเปน็จริง. กรุงเทพมหานคร :       เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จ ากัด. [2] Crompton, H. (2013). A Historical overview of m-learning: Toward learner-centered education. In Berge, Z.L. and Muilenburg, L.Y. (Eds.), Handbook of Mobile Learning,       pp. 3-14. New York, NY: Routledge [3] Ryu, H. (2007). The Status-quo of Mobile Learning. Retrieved April 11, 2007, from http://tur-www1.massey.ac.nz/~hryu/ MobileLearning_v2.pdf [4] Geddes. (2006). Mobile learning in the 21st century: benefit for learners. Retrieved April 11, 2007, from http://knowledgetree. flexiblelearning.net.au/edition06/download/  geddes.pdf [5] Klopfer, E., Squire, K., & Jenkins, H. (2002). Environmental detectives PDAs as a Window into a virtual simulated world. IEEE International Workshop on Wireless and Mobile Technologies in Education,                 pp. 95-98. 

[6] Fezile Ozdamlia, Nadire Cavusb (2011). Basic elements and characteristics of mobile learning. Procedia - Social and Behavioral Sciences; Volume 28, pp.937–942. [7] Wenhui P. and Yaling Z. (2015), The Design and Research of Responsive Web Supporting Mobile Learning Devices. International Symposium on Educational Technology (ISET) 2015, IEEE. [8] Edgar, N.A. and Ake, G. (2016). On Mobile Learning with Learning Content Management Systems: A Contemporary Literature Review. International Conference on Mobile and Contextual Learning, pp.131-145. [9] Yung-Ting Chuan. (2015). SSCLS: A Smartphone - Supported Collaborative Learning System. Telematics and Informatics 32(3): pp.463-474. [10] ส านักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จ ากัด. [11] Koschman. CSCL & Model of Instruction collaborative learning. [online] 1997. [cited 2015 December 6]. Available from : URL : http://www.uib.no/People/sinia/ CSCL/web_struktur-975.html [12] Smith, B.L. and Macgregor, J. (1992). Collaborative Learning : A Sourcebook for Higher Education. University Park, PA : National on Postsecondary Teaching, Learning and Assessment. [13] สุพิน ดิษฐกุล. (2543). การเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative learning). วารสารศึกษาศาสตร์ ปริทัศน์. ปีที่ 15 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2543) : 1-8. [14] Hongmei, W. and Hongxia, W. (2010). The Study of Collaborative Learning Model onthe Internet. In Proceedings of Artificial Intelligence and Education. 2010 : 294-296. [15] Gerlach, J. M. (1994). Is this Collaboration. Collaboration Learning: Underlying Process and Effective Techniques. 59 (1994) : 5-13.
[16] Davidson, N. (1994). Cooperative and Collaborative Learning An Integrative Perspective. Creativity and collaborative learning: A practical guide to empowering students and teachers. Baltimore, Maryland : Paul H. Brooks Publishing Co. [17] Tinzmann, M. B. et al. (1997). What is the collaborative classroom. [online]. [cited 2015 May 10]. Available from : URL : http://www.ncrel.org./sdrs/areas/rpl_esys/col lab.htm. [18] Fezile, O., & Nadire, C. (2011). Basic elements and characteristics of mobile learning. Procedia Social and Behavioral Science 28, 2011 : 937-942. [19] Radovan Vrana. (2015). The developments in mobile learning and its application in the higher education including. MIPRO 2015, Opatija, Croatia, pp. 881-885. [20] Umera, I., Vanessa, C., and Tomayess, I. (2013). Common mobile learning characteristics-an analysis of mobile learning models and frameworks. (Online). Retrieved December 28, 2015, from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED562404.pdf [21] Vladimir, V. et al. (2011). Mobile Learning And Improvement of Environmental Education. Proceeding of International Conference 14th Toulon Conference on Organizational Excellence in Services university of Alicante University of Oviedo (Spain) September 1-3, pp. 1253-1263. [22] สาโรช โศภีรักข์. (2557). M – Learning. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี. 3(2) : 32–42. [23] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2520). ระบบสื่อการสอน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [24] Xin-xing, Q and Zhi-qin, L. (2011). “Research and Design CSCL Model Based on Ubiquitous Learning Environments” In Proceeding of the 6th International Conference on

Computer Science & Education, 2011, pp. 811-814. [25] Patrick, H., Jeanne, L., Chris, W., and Tyrone, C. (2015). A Study on Using Learning Management System with Mobile App. Proceedings of International Symposium on Educational Technology, pp.168-172 [26] Wenhui, P., and Yaling, Z. (2015). The Design and Research of Responsive Web Supporting Mobile Learning Devices. International Symposium on Educational Technology, pp.163-167. [27] Brown, K., Huettner, B., and James-Tanny, C. (2007). Managing Virtual Teams: Getting the Most from Wikis, Blogs, and Other Collaborative Tools. Texas: Wordware Press.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI