ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การพัฒนาอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสาน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนเมอืงทหารอากาศบ ารุง Development of Blended e-Learning Courseware on Information Technology Lesson for Mathayomsuksa 1 Students at Donmuang T

อวิรุทธ์ วิชัยศรี, สูติเทพ ศิริพิพัฒนกุล, ณัฐพล รำไพ

Abstract


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสาน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบ ารุง เพื่อหาคุณภาพและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 1 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบ ารุง 3) ศึกษาความพึงพอใจในการเรียนอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสาน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนดอนเมืองทหารอากาศบ ารุง จ านวน 35 คน ใช้วิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) อีเลิร์นนิง คอร์สแวร์แบบผสมผสาน 2) แบบทดสอบก่อนเรียนและแบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินคุณภาพอีเลิร์นนิง คอร์สแวร์แบบผสมผสาน และ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจในการเรียนอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสาน สถิติที่ใช้ใน การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบ Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1) อีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสาน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศ มีคุณภาพอยู่ในระดับ ดีมาก และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 84.10/83.43 เป็นไปตามเกณฑ์ 80/80 2) คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าคะแนนทดสอบ ก่อนเรียนอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) นักเรียนมีความพึงพอใจในการเรียนอีเลิร์นนิงคอร์สแวร์แบบผสมผสานอยู่ใน ระดับ มากที่สุด


Keywords


อีเลิร์นนิงคอร์สแวร์, การเรียนรู้แบบผสมผสาน, เทคโนโลยีสารสนเทศ

วิจารณ์  พานิช. (2553). การศึกษาไทย 2552-      2553 บนเส้นทางแห่งอาจาริยบูชา ครู เพื่อศิษย์.      พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม: สถาบันส่งเสริมการจัดการ       ความรู้เพื่อสังคม. [2] กระทรวงการศึกษา. (2553). หลักสูตรแกนกลาง     การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. พิมพ์ครั้ง     ที่ 3. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์     การเกษตรแห่งประเทศไทย [3] ถนอมพร  เลาหจรัสแสง. (2545). Design     e-Learning : หลักการออกแบบและการสร้างเว็บ     เพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร: อรุณการ          พิมพ์.  [4] Bonk, C. J. and Graham, C. R. (Eds.). (2006).       Handbook of blended learning: Global       Perspectives, local designs.  San Francisco,      CA: Pfeiffer Publishing.  [5] Driscoll, M.  (2002).  Blended learning: let’s      get beyond the hype (Online).     www.07.ibm.com/services/pdf/blended_     learning.pdf, January 18, 2018. [6] Bersin, J. (2004). The blended learning      book: Bestpractices, proven 

methodologies, and lessons learned. San Francisco. Calif: Pfeiffer. [7] อาณัติ รัตนถริกุล. (2558). สร้างระบบ e-Learning ด้วย Moodle ฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชนั่ จ ากัดมหาชน. [8] Fitz - Gibbon and Carol, T. (1987). How to Design a Program Evaluation. Newbury Park: Sage. [9] ล้วน สายยศ และ อังคณา สายยศ. (2553). เทคนิคการวิจัยทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์. [10] ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2556). การทดสอบ ประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน. วารสาร ศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(1), 7-19. [11] Seels, B. and Glasgow, Z. 1998. Making Instructional Design Decisions. United States of America: Merrill Publishing Company. [12] ปรัชญนันท์ นิลสุข และ ปณติา วรรณพิรุณ. (2556). การจดัการเรียนรู้แบบผสมผสาน: สัดส่วนการผสมผสาน. วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา, 25(85), 31-36. [13] ศิริวรรณ พิริยะสุรวงศ์. (2555). ผลของการ จัดการเรียนบนเว็บแบบผสมผสานวิชาภาษา ฝรั่งเศสเพื่อการท่องเที่ยว 1 ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนและความพึงพอใจในการเรียน ของนักเรียนระดับช่วงชั้นที่ 4 โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (ฝ่ายมัธยม). วารสารวิทยบริการ, 23(2), 138-151. [14] จินตวีร์ คล้ายสังข์ และ ประกอบ กรณีกิจ. (2556). การพัฒนารูปแบบอีเลิร์นนิงแบบ ผสมผสานโดยใช้บันทึกสะทอ้นการเรียนรู้แบบ มีปฏิสัมพันธ์ออนไลน์ที่ส่งเสริมความใฝ่รู้และ ความคงทนในการจ าของนิสิต คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณม์หาวิทยาลัย. วารสารครุศาสตร์, 41(3), 66-82. [15] Duarte, A. (2016). Blended learning: Institutional frameworks for adoption and implementation. United States: ProQuest Dissertations Publishing. [16] นพรัตน์ พลเสน. (2557). การพัฒนาบทเรียน แบบผสมผสานกลุ่มสาระการเรียนรสู้ังคมศึกษา
ศาสนา และวัฒนธรรม เรื่อง ประวัติศาสตร์กรุงศรี อยุธยา ส าหรับนักเรียนชั้นมธัยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบ้านหนองมะสัง. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(3), 454-46.

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI