ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ร่วมกับสมาคมศิษย์เก่าคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

Page Header

การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับเทคนิคซินเน็คติกส์ ผ่านคลาวด์เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมความคดิสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม Development of Project-based Learning Model Using Synectics Technique via Cloud Technology to Enhance Creativity and Innov

สรกฤช มณีวรรณ

Abstract


การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานร่วมกับเทคนิคซินเน็คติกส์ผ่านคลาวด์ เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และการสร้างนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) ตรวจสอบความตรง ของรูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานที่พัฒนาขึ้น และ 3) ศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงงานที่พัฒนาขึ้น                             เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา (Developmental Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน ETM 344                                   การถ่ายภาพขั้นสูงเพื่องานโฆษณา ภาคการศึกษาที่ 1/2557 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ซึ่งได้มา                                      จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Sample Random Sampling) โดยวิธีการจับฉลาก จ านวน 15 คน ใช้ระยะเวลา                          ในการทดลอง 12 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า 1) รูปแบบการเรียน เรียนรู้แบบโครงงานที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบที่ส าคัญ ได้แก่ ผู้สอนและผู้เรียน ภารกิจการเรียนรู้         เครื่องมือทางปัญญา แหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ และช่องทางการติดต่อสื่อสาร และขั้นตอนการเรียนรู้ที่ส าคัญ ประกอบด้วย                    5 ขั้นตอน ได้แก่  ขั้นที่ 1 การเตรียมความพร้อมและฝึกปฏิบัติ ขั้นที่ 2 การสร้างแรงบันดาลใจและความท้าทาย                                      ขั้นที่ 3 การออกแบบหัวข้อและวางแผน ขั้นที่ 4 การสร้างความคิดใหม่ ขั้นที่ 5 การพัฒนาต้นแบบและทดสอบ และ                               ขั้นที่ 6 การเขียนรายงานและน าเสนอ 2) ผลการตรวจสอบความตรงของรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น พบว่า                                           รูปแบบการเรียนรู้มีความตรงเป็นที่ยอมรับจากผู้เชี่ยวชาญ (IOC=1.00) 3) ผลการใช้รูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น พบว่า         ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับดีมาก  (x = 4.55  S.D. = 0.56) ทักษะการสร้างนวัตกรรมของผู้เรียนที่เรียนด้วยรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น อยู่ในระดับดีมาก ( x = 4.63  S.D. = 0.43) และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับมาก (x = 4.45  S.D. = 0.57)

Keywords


การเรียนรู้แบบโครงงาน, ซินเน็คติกส์, คลาวด์เทคโนโลยี, ความคิดสร้างสรรค์, การสร้างนวัตกรรม

[1] สถาบันสังคมศึกษา ส านักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา ส านักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ, การเรียนรู้ ผ่านระบบออนไลน์ [Online] Available: http://social.obec.go.th/node/79. [15 ตุลาคม 2556]. [2] สุขเกษม อุยโต, 2540, การพัฒนาบทเรียน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนวิชาถ่ายภาพ หลักสูตร ปริญญาตรี, วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, หน้า 1. [3] กิดานันท์ มลิทอง, 2543, เทคโนโลยีการศึกษาและ นวัตกรรม, พิมพ์ครั้งที่ 2, อรุณการพิมพ์, กรุงเทพ, หน้า 37. [4] ลัดดา ภู่เกียรติ, 2551, การจัดการเรียนรู้ ก า ร ท า โ ค ร ง ง า น [ Online] Available:
http://sukho.nfe.go.th/lnsukho/courses/4/s ection2_1.html [15 ตุลาคม 2556]. [5] พิชัย ทองดีเลิศ, 2545, “การเรียนรู้ร่วมกัน ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ตอนที่2”, Telecom Journal, ฉบับรายสัปดาห์, 2 กันยายน – 8 กันยายน 2545, หน้า 20. [6] เสริมศรี ไชยศร, 2539, หลักเกณฑ์และรูปแบบการ พัฒนาหลักสูตรที่พึงประสงค์ในระดับ ปริญญาตรี, ส านักพิมพ์ ลานนาการพิมพ์, กรุงเทพฯ, หน้า 128. [7] Joyce, Bruce and Weil, Marsha, 1992, Model of Teaching ,3rd ed, Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice – hall International, p.80. [8] สมศักดิ์ ภู่วิภาดาวรรธน์, 2537, เทคนิคการส่งเสริม ความคิดสร้างสรรค์, ส านักพิมพ์ โนเล็จว์ กรุงเทพมหานคร, หน้า 12. [9] Rita, C.R. and Jame, D.K., 2007, Design and Development Research: Methods, Strategies and Issues Mahwah, Lawrence Erlbaum Associates, Publishers, Mahwah, pp. 67-72. [10] สุคนธ์ สินธพานนท์, 2554, วิธีสอนตามแนวปฏิรูป การศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน, โรงพิมพ์ห้างหุ้นส่วนจ ากัด 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง, กรุงเทพฯ, หน้า 102. [11] วราภรณ์ ตระกูลสฤษดิ์, 2551, แนวทางการจัดการ เรียนรู้แบบโครงงาน, ห้างหุ้นส่วนจ ากัด เอ็ม ไอ ที พริ้นติ้ง, กรุงเทพฯ, หน้า 14-19, 26-28. [12] Anderson, H., 1998, “The Effect of Technology Support System on Achievement and Attitudes of Preservice Teacher [Online], Available: http://dl.acm.org/citation.cfm?id=928196 [2015, March 28]. [13] ชลิต กังวาราวุฒิ, 2557, การพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้การสอนแบบศิลปภิวัฒน์ผ่านคลาวด์ เทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมผลงานสร้างสรรค์ตามแนว เศรษฐกิจสร้างสรรค์, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ, หน้า บทคัดย่อ. [14] ปารย์พิชชา ก้านจักร, 2558, การพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้แบบสืบเสาะผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อส่งเสริมการคิดอย่างมีวิจารณญาณและความ ร่วมมือทางการเรียนรู้, วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎี บัณฑิต สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนคร เหนือ, หน้า บทคัดย่อ, 15,          271-272. [15] Joyce, Bruce & Weil, Marsha, 1986, Model of Teaching ,3rd  ed., Englewood Cliffs,  New Jersey : Prentice – hall International, p.237. [16] สมพงษ์  สิงหะพล, 2536, รูปแบบการสอน, คณะ วิชาครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา, หน้า 479-491. [17] สุทธิ์กัญจน์  ทิพยเกสร, 2545, การพัฒนาความคิด สร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3                 ด้วยการสอนแบบซินเนคติกส์, วิทยานิพนธ์ปริญญา การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า 78. [18] จันทร์จิรา  นที, 2547, ผลการจัดกิจกรรมซินเนค ติกส์  ที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษา สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์, ปริญญาศึกษาศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, หน้า  150. [19] นิรัช  สุดสังข์, 2544, ผลของกิจกรรมซินเนคติกส์      ในบทเรียนมัลติมีเดียที่มีต่อการพัฒนาความคิด สร้างสรรค์และการสร้างสรรค์ผลงานในวิชา                การออกแบบอุตสาหกรรมของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี, วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษา มหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา                             คณะครุศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, หน้า 130. [20] ไชยยศ  เรืองสุวรรณ, 2521, หลักการทฤษฎี เทคโนโลยีและนวกรรมทางการศึกษา,มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ, มหาสารคาม, หน้า 13-14. [21] ขจรศักดิ์  เนาว์สุวรรณ, 2555, การพัฒนา กระบวนการเรียนการสอนแบบทักษะกระบวนการ คิดผ่านเครือข่าย เพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรม ส าหรับนักศึกษาปริญญาตรี, วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชาครุ ศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า ธนบุรี, หน้าบทคัดย่อ. 

Full Text: PDF

Refbacks

  • There are currently no refbacks.


วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา จัดพิมพ์ปีละ 2 ฉบับ ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน และเดือนกรกฎาคม - ธันวาคม ทุกปี

ดำเนินการโดย
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
สนับสนุนการดำเนินการโดย
สมาคมศิษย์เก่าครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th 

ประเภทของบทความ
ขอบเขตการรับบทความลงพิมพ์ในสาขาอุตสาหกรรม พณิชยกรรม บริหารธุรกิจ เกษตรกรรมและประมง ศิลปหัตถกรรม คหกรรม
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการศึกษา อุตสาหกรรมศึกษา  เทคโนโลยีอุตสาหกรรม
การจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี

การเตรียมบทความ

ดาวน์โหลดตัวอย่างการเตรียมบทความได้ที่นี่  http://vetrc.stri.kmutnb.ac.th/2018/JVTE2561.docx

 

วารสารการอาชีวะและเทคนิคศึกษา (ISSN 2229-1806)
ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา
สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ได้รับการจัดอยู่ในวารสารฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 สาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/Evaluation/NewJ/2561/News.html
ตามผลการพิจารณาคุณภาพวารสารที่ต้องการเข้าสู่ฐานข้อมูล TCI ประจำปี พ.ศ. 2561 (25 พ.ค.2561)
วารสารกลุ่มที่ 2 : วารสารที่ผ่านการรับรองคุณภาพของ TCI (จนถึง 31 ธันวาคม 2562) และอยู่ในฐานข้อมูล TCI