Page Header

ธุรกิจ SMEs กับหลักประกันทางธุรกิจ
SMEs and Business Collateral

Kosok SermRum

Abstract


ในสังคมไทยปัจจุบันมีประชาชนจำนวนมากที่ต้องการเงินหมุนเวียนใช้ในชีวิตประจำวันเพื่อการดำรงชีวิต วิธีการหนึ่งที่อาจได้มาซึ่งเงินหมุนเวียนเมื่อมีความจำเป็น คือ การกู้ยืมเงิน และในการกู้ยืมเงินของประชาชน เจ้าหนี้มักจะต้องการหลักประกันเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ แต่การให้หลักประกันในบางกรณีตามกฎหมายยังไม่สอดคล้องกับความต้องการใช้ประโยชน์ในระหว่างเป็นประกันและเจ้าหนี้ยังไม่มีฐานะเป็นเจ้าหนี้มีประกันตามกฎหมาย ข้อกฎหมายเกี่ยวกับข้อจำกัดของกฎหมายไทยเกี่ยวกับการประกันการชำระหนี้เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาให้เกิดประโยชน์ต่อSMEs ในการใช้หลักประกันทางธุรกิจเพื่อเป็นประกันการชำระหนี้ในหลักประกันทางธุรกิจของ SMEs

With regard to Thailand’s contemporary society, many people need working capital to support their day-to-day operating expenses. One way to get the funds they need for working capital is by a cash flow loan. Usually the collateral is necessary to secure the borrowers’ repayment. In some cases, the provision of collateral assets in accordance with the law does not meet the demand for benefits during the guarantee period. The lender is not regarded as a legally secured creditor. The limitations of Thailand's debt collection law, specifically loan repayment insurance was underscored to find improvement approaches that would benefit SMEs in this respect.


Keywords



[1] คู่มือการให้คำปรึกษาธุรกิจ SMEs. (2561). โครงการสร้างนักการค้ามืออาชีพ กรมพัฒนาธุรกิจการค้ากระทรวงพาณิชย์. https://www.dbd.go.th/download/promotion_file/manual_sme600529.pdf

[2] กำชัย จงจักรพันธ์. (2557). เรื่องน่ารู้ เกี่ยวกับกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพ : ศรีอนันต์การพิมพ์.

[3] ถาวร โพธิ์ทอง. (2528). คำอธิบายประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ว่าด้วยบุคคลและทรัพย์ (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

[4] ปิติกุล จีระมงคลพาณิชย์. (2549). กฎหมายประกันด้วยบุคคลและทรัพย์ค้ำประกัน จำนอง จำนำ (พิมพ์ครั้งที่ 2) .กรุงเทพฯ : วิญญูชน.

[5] ภัทรพร เกาทัณฑ์ทอง. (2559) . การจดทะเบียนสัญญาหลักประกันทางธุรกิจ : ปัญหาและการบังคับใช้. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

[6] เอกศักดิ์ สืบนิพนธ์. (2558). ปัญหากฎหมายเกี่ยวกับการใช้เครื่องจักรและอุปกรณ์เป็นหลักประกันการ ชำระหนี้ต่อสถาบันการเงิน. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, 2(2), 172-190.

[7] อรวรรณ เกษร. (ม.ป.ป). หลักการและสาระสำคัญของกฎหมายหลักประกันทางธุรกิจ. Parliament.https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1543

[8] ทรงยศ พุทธิยิ่งยงกุล. (2559). ปัญหาหลักประกันทางธุรกิจ ศึกษากรณีการนำสิทธิเรียกร้องมาเป็นหลักประกันทางธุรกิจ. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

Full Text: PDF

DOI: 10.14416/j.bid.2021.07.016

Refbacks

  • There are currently no refbacks.